สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์,WalailakUniversity, SM,Schoolofmanagement,เด็กการจัดการ,การจัดการวลัยลักษณ์ , การจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์,WalailakUniversity, SM,Schoolofmanagement,แหล่งปัญญาด้านการจัดการ มุ่งสู่ความเป็นเลิศ, สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์,WalailakUniversity, SM,Schoolofmanagement,ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ให้เป็นคนดีและคนเก่ง,มีความรู่และความเชี่ยวชาญในการปฎิบัติ,

 

                      เมื่อวันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. รศ.ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์โลจิสติกส์และธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วยอาจารย์ณิชชา วัฒนสิริภักดี สมาชิกศูนย์ความเป็นเลิศ ร่วมกับสถาบันการวิจัยระดับนานาชาติ (Mekong Institute: MI) และวิทยากรจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ประกอบด้วย Associate Prof. Dr. Sreejith Balasubramanian จาก Middlesex University, Dubai และ Associate Prof. Dr. Albert Tan จาก Malaysia Institute for Supply Chain Innovation จัดการประชุมในหัวข้อ “Green Freight and Logistics in GMS countries” ในรูปแบบการประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom  เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ในการบริหารจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ประกอบการธุรกิจ และสมาคมและสมาพันธ์ด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ ลาว, กัมพูชา, ไทย, เวียดนาม และพม่า ตลอดจนมีการนำเสนอแนวคิดการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นองค์กรด้านโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล, การใช้ประโยชน์จากการเทคโนโลยีที่สนับสนุนการดำเนินงานในอุตสาหกรรมยุค 4.0, การปรับปรุงประสิทธิภาพการขนส่งในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, การกำหนดมาตรฐานสีเขียว (Green Standard) ระดับภูมิภาคสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และการปรับปรุงฐานข้อมูล E-database สำหรับเทคโนโลยี Green Logistics และแพลตฟอร์มสำหรับฐานข้อมูล E-database โดยการประชุมครั้งนี้ได้รับความสนใจจากหลายภาคส่วนและมีผู้เข้าร่วมการประชุมกว่า 55 คน รวมทั้งมีนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าร่วมการประชุมอีกด้วย

เมื่อวันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. รศ.ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์โลจิสติกส์และธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วยอาจารย์ณิชชา วัฒนสิริภักดี สมาชิกศูนย์ความเป็นเลิศ ร่วมกับสถาบันการวิจัยระดับนานาชาติ (Mekong Institute: MI) และวิทยากรจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ประกอบด้วย Associate Prof. Dr. Sreejith Balasubramanian จาก Middlesex University, Dubai และ Associate Prof. Dr. Albert Tan จาก Malaysia Institute for Supply Chain Innovation จัดการประชุมในหัวข้อ “Green Freight and Logistics in GMS countries” ในรูปแบบการประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom  เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ในการบริหารจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ประกอบการธุรกิจ และสมาคมและสมาพันธ์ด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ ลาว, กัมพูชา, ไทย, เวียดนาม และพม่า ตลอดจนมีการนำเสนอแนวคิดการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นองค์กรด้านโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล, การใช้ประโยชน์จากการเทคโนโลยีที่สนับสนุนการดำเนินงานในอุตสาหกรรมยุค 4.0, การปรับปรุงประสิทธิภาพการขนส่งในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, การกำหนดมาตรฐานสีเขียว (Green Standard) ระดับภูมิภาคสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และการปรับปรุงฐานข้อมูล E-database สำหรับเทคโนโลยี Green Logistics และแพลตฟอร์มสำหรับฐานข้อมูล E-database โดยการประชุมครั้งนี้ได้รับความสนใจจากหลายภาคส่วนและมีผู้เข้าร่วมการประชุมกว่า 55 คน รวมทั้งมีนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าร่วมการประชุมอีกด้วย

เมื่อวันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. รศ.ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์โลจิสติกส์และธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วยอาจารย์ณิชชา วัฒนสิริภักดี สมาชิกศูนย์ความเป็นเลิศ ร่วมกับสถาบันการวิจัยระดับนานาชาติ (Mekong Institute: MI) และวิทยากรจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ประกอบด้วย Associate Prof. Dr. Sreejith Balasubramanian จาก Middlesex University, Dubai และ Associate Prof. Dr. Albert Tan จาก Malaysia Institute for Supply Chain Innovation จัดการประชุมในหัวข้อ “Green Freight and Logistics in GMS countries” ในรูปแบบการประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom  เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ในการบริหารจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ประกอบการธุรกิจ และสมาคมและสมาพันธ์ด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ ลาว, กัมพูชา, ไทย, เวียดนาม และพม่า ตลอดจนมีการนำเสนอแนวคิดการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นองค์กรด้านโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล, การใช้ประโยชน์จากการเทคโนโลยีที่สนับสนุนการดำเนินงานในอุตสาหกรรมยุค 4.0, การปรับปรุงประสิทธิภาพการขนส่งในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, การกำหนดมาตรฐานสีเขียว (Green Standard) ระดับภูมิภาคสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และการปรับปรุงฐานข้อมูล E-database สำหรับเทคโนโลยี Green Logistics และแพลตฟอร์มสำหรับฐานข้อมูล E-database โดยการประชุมครั้งนี้ได้รับความสนใจจากหลายภาคส่วนและมีผู้เข้าร่วมการประชุมกว่า 55 คน รวมทั้งมีนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าร่วมการประชุมอีกด้วย

เมื่อวันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. รศ.ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์โลจิสติกส์และธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วยอาจารย์ณิชชา วัฒนสิริภักดี สมาชิกศูนย์ความเป็นเลิศ ร่วมกับสถาบันการวิจัยระดับนานาชาติ (Mekong Institute: MI) และวิทยากรจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ประกอบด้วย Associate Prof. Dr. Sreejith Balasubramanian จาก Middlesex University, Dubai และ Associate Prof. Dr. Albert Tan จาก Malaysia Institute for Supply Chain Innovation จัดการประชุมในหัวข้อ “Green Freight and Logistics in GMS countries” ในรูปแบบการประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom  เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ในการบริหารจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ประกอบการธุรกิจ และสมาคมและสมาพันธ์ด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ ลาว, กัมพูชา, ไทย, เวียดนาม และพม่า ตลอดจนมีการนำเสนอแนวคิดการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นองค์กรด้านโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล, การใช้ประโยชน์จากการเทคโนโลยีที่สนับสนุนการดำเนินงานในอุตสาหกรรมยุค 4.0, การปรับปรุงประสิทธิภาพการขนส่งในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, การกำหนดมาตรฐานสีเขียว (Green Standard) ระดับภูมิภาคสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และการปรับปรุงฐานข้อมูล E-database สำหรับเทคโนโลยี Green Logistics และแพลตฟอร์มสำหรับฐานข้อมูล E-database โดยการประชุมครั้งนี้ได้รับความสนใจจากหลายภาคส่วนและมีผู้เข้าร่วมการประชุมกว่า 55 คน รวมทั้งมีนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าร่วมการประชุมอีกด้วย

เมื่อวันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. รศ.ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์โลจิสติกส์และธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมด้วยอาจารย์ณิชชา วัฒนสิริภักดี สมาชิกศูนย์ความเป็นเลิศ ร่วมกับสถาบันการวิจัยระดับนานาชาติ (Mekong Institute: MI) และวิทยากรจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ประกอบด้วย Associate Prof. Dr. Sreejith Balasubramanian จาก Middlesex University, Dubai และ Associate Prof. Dr. Albert Tan จาก Malaysia Institute for Supply Chain Innovation จัดการประชุมในหัวข้อ “Green Freight and Logistics in GMS countries” ในรูปแบบการประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom  เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ในการบริหารจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ประกอบการธุรกิจ และสมาคมและสมาพันธ์ด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ทั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ ลาว, กัมพูชา, ไทย, เวียดนาม และพม่า ตลอดจนมีการนำเสนอแนวคิดการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นองค์กรด้านโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล, การใช้ประโยชน์จากการเทคโนโลยีที่สนับสนุนการดำเนินงานในอุตสาหกรรมยุค 4.0, การปรับปรุงประสิทธิภาพการขนส่งในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, การกำหนดมาตรฐานสีเขียว (Green Standard) ระดับภูมิภาคสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และการปรับปรุงฐานข้อมูล E-database สำหรับเทคโนโลยี Green Logistics และแพลตฟอร์มสำหรับฐานข้อมูล E-database โดยการประชุมครั้งนี้ได้รับความสนใจจากหลายภาคส่วนและมีผู้เข้าร่วมการประชุมกว่า 55 คน รวมทั้งมีนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าร่วมการประชุมอีกด้วย

Facebook Comments